วันนี้เข้าอบรมโครงการ โครงการพัฒนาบุคลากรอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อจัดทำรายงานด้วยโปรแกรมระบบสารสนเทศครบวงจร ให้แก่บุคลากรจำนวน ๓๙ คน ในวันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๙ ณ ห้องประชุมกศน.อำเภอเมืองลำปาง โดย อ.กฤษณะ เจริญอรุณวัฒนา และ อ.สุมลมาลย์ ก้าวกสิกรรม ครูอาสาสมัครฯ รายงานผลการดำเนินงาน การรายงานไตรมาส และให้ครูแต่ละท่านรายงานผลการจัดกิจกรรมในงานไตรมาส 1
เริ่มการนำเสนอของ ตำบลนิคมพัฒนา ผลของผู้เรียนเป็นอย่างไรในแต่ละคน ให้ออกมาเป็นรูปเล่มด้วย อันนี้ไม่ใช่สรุปผลการดำเนินงาน สรุปผลคือ ผู้เรียนได้เรียนอะไร(ดูตามแผน) ผู้เรียนเป็นไงบ้าง มีความก้าวหน้ามากน้อยแต่น้อย เพจ ทำอะไร ทำกี่เรื่อง มีผู้เข้าชมกี่คน บล็อคได้ทำกี่บล็อค กี่เรื่องมีผู้เข้าชม กี่คน เกี่ยวกับเรื่องอะไร มีการพัฒนาปรับปรุงอย่างไร ต้องมีการรายทุกกิจกรรมทุกๆกิจกรรม และสมบูรณ์แบบ ถ้ากิจกรรมทำไปแล้วต้องมีเป็นรูปเล่ม
เวลา 11.00 น. การชมETV แนวทางการจัดการศึกษาเรียนร่วม ทวิศึกษา หลักสูตรการจัดการศึกษาของกศน.และปวช ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการออกแบบการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้ได้สองวุฒิในสามปี ต่อไปก็เป็นกระบวนการจัดการศึกษา ปัญหาของการเรียนร่วม เวลาไม่ลงตัว เพราะเด็กต้องมีเวลาเรียน มีการฝึกงานทำให้การจัดการศึกษาต้องใช้เวลาเรียนมากขึ้น
การจัดแผนการเรียนนำไปสู่ผลการเทียบโอน อ.วัลภา อยู่ทอง การจัดแผนการเรียนรู้ปัญหา คือ ใบ รบ. ในแต่ละภาคเรียนเกินกว่า 24 ชั่วโมงต่อวันที่ต้องเรียน ต้องให้อยู่บนพื้นฐานความเป็นจริง อาชีวคาบละ 60 นาที หน่วยกิจ 40 ชั่วโมงเท่ากับ 1 หน่วยกิต มีทฤษฏีและปฏิบัติ การคิดค่าหน่วยกิจ 1 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ ปฏิบัติกิจกรรม 2 สัปดาห์ 54 ชั่วโมงต่อ 1 หน่วยกิจ ในหลักสูตรอาชีวจะกำหนดเป็นทำทฤษฏี
กรอบโครงสร้างหลักสูตรปวช. 2556
การสำเร็จการศึกษา
• ประเมินผ่านรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา
• ได้จานวนหน่วยกิตสะสมครบตามโครงสร้างของหลักสูตรแต่ละประเภทวิชาและสาขาวิชา
• ได้ค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 2.00 และผ่านการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
• เข้าร่วมกิจกรรมและประเมินผ่านทุกภาคเรียน
การประกันคุณภาพหลักสูตร
• ให้สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาจัดให้มีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรที่อยู่ในความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5 ปี
1)คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษา
2)การบริหารหลักสูตร
3)ทรัพยากรการเรียนการสอน
4)ความต้องการของตลาดแรงงาน
โครงสร้างหลักสูตรกำหนด
• จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
• จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
• จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
• จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก
แนวทางการจัดแผนการเรียน
จัดรายวิชาตามลาดับง่าย-ยาก เป็นไปตามเงื่อนไขโครงสร้างหลักสูตรกาหนด
• จัดรายวิชาในแต่ละหมวดวิชาให้ครบตามโครงสร้าง
• จัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตกระจายทุกภาคเรียน
• จัดวิชาชีพพื้นฐานในภาคเรียน 1-2ยกเว้นรายวิชาส่งเสริม/สนับสนุนงานอาชีพ
• จัดวิชาชีพสาขาวิชา/วิชาชีพเฉพาะในภาคเรียน 2-3เพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือก
- จัดวิชาชีพสาขางาน/วิชาชีพเลือกในภาคเรียนที่ 2เป็นต้นไป
- จัดวิชาโครงการในภาคเรียน 5 หรือ 6
- จัดวิชาฝึกงานและรายวิชาชีพ ไปเรียนและฝึกในสถาน-ประกอบการภาคเรียนที่ 5-6
- จัดวิชาเลือกเสรีในภาคเรียนที่ 3 เป็นต้นไป
- จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 2ชม./สัปดาห์ทุกภาคเรียน
- จัดวิชาในภาคฤดูร้อนให้พอดีกับเวลาเรียน (เทียบเคียงกันได้กับภาคเรียนปกติ ประมาณ 12นก.)
- ตรวจสอบความครบถ้วนถูกต้อง
ช่วงบ่าย เริ่มการนำเสนอของแต่ละตำบลตามลำดับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น